เมนู

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พึงกระทำมูล (วาระที่ 5)
โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย
พึงกระทำมูล (วาระที่ 6)
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

2. อารัมมณปัจจัย


[622] 1. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 2)
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น
พึงกระทำมูล (วาระที่ 3)
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

4. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอํานาจของ
อารัมมณปัจจัย

คือ บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ กระทำอุโบสถกรรมแล้วพิจารณา
กุศลกรรมนั้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น
ราคะที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น, อุทธัจจะ ฯลฯ
โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
กุศลกรรมที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ
พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค แล้วพิจารณามรรค ฯลฯ เป็น
ปัจจัยแก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ฯลฯ กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ รู้กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาล
ก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯฯะฯ ย่อม
ยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่ไม่ใช่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ไม่ใช่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ
แก่โมหะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

5. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย

คือ บุคคลให้ทานแล้ว ฯลฯ ฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์
ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ
วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
6. ธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนน-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา
และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.
7. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ 8)
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์
ทั้งหลายที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล (วาระที่ 9)
เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ย่อมเกิดขึ้น.

3. อธิปติปัจจัย


[623] 1. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ
ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรมให้เป็น
อารมณ์อย่างหนักแน่น ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ย่อม
เกิดขึ้น.
ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมป-
ยุตตขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.
2. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่
อธิปติธรรมที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.